วันศุกร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2555

กิจกรรม วันรณรงค์ลดอุบัติเหตุแห่งชาติ


กิจกรรม 

วันลดอุบัติภัยแห่งชาติ

จังหวัดอำนาจเจริญ
วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ห้อง ม.3/8




นักเรียน รอคุณครูนัดหมาย




คุณครู มาถึง นัดหมาย ลำดับการขึ้นรถ อย่างมีระเบียบ






รอขึ้นรถ ลำดับที่ สอง





ขึ้นรถ อย่างมีระเบียบ เเละรวดเร็ว
















เดินทางมาถึง ณ ศาลากลางจังหวัดอำนาจเจริญ สถานที่ จัดงานวันรณรงค์ลดอุบัติเหตุแห่งชาติ


ลงรถ อย่างเป็ฯระเบียบ

















มาเป็นเเทวเตรียมเข้าสู้ งานวันรณรงค์ลดอุบัติเหตุแห่งชาติ


ได้เวลา ประทานกล่าวเปิดงานวันรณรงค์ลดอุบัติเหตุแห่งชาติ

รถเเละคณะ หน่วยกู้ภัย เเสดงศักยภาพในการทำงาน




เหมื่อพิธีเปิดเสร็ดสิ้น เข้าเเถวลงทะเบียน




ลงทะเบียน










ลงทะเบียนเสร็ด 





เยี่ยมชมสุ้มจัดเเสดงในงาน



ดูการสาธิตการขับรถ กู้ภัย








 นักเรียนได้ทดลองขับรถกู้ภัย





 เยี่ยมชมสุ้มจัดเเสดง อุปกรณ์ ในการใช้กู้ภัยเหตุการต่างๆ

 



ชมผลงานการทำงานที่ผ่านมาข้องเจ้าหน้าที่




วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555


ศิลปะลัทธินามธรรม ( Abstract )




วาสิลี แคนดินสกี้ (Wassily Kandinsky) ค.ศ. 1866-1944 เป็นชาวรัสเซีย ผู้นำจิตรกรรมแบบนามธรรม


ระหว่าง: กลางคริสต์ทศวรรษ 1940-ทศวรรษ 1950

ศัพท์คำว่า แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ มีที่มาจากการพยายามอธิบายงานจิตรกรรมนามธรรมของ วาสสิลี่ คานดินสกี้ (Wassily Kandinsky) ในระหว่างปี 1920 ต่อมาคำๆนี้ไปปรากฏในข้อเขียนสำหรับอธิบายงานจิตรกรรมร่วมสมัยที่เขียนโดย โรเบิร์ต โคเตส (Robert Coates) ในนิตยสาร “นิวยอร์คเกอร์” (New Yorker) ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 1946
นักวิจารณ์ผู้ทรงอิทธิพลที่สนับสนุนศิลปะแบบ แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ อย่างแข็งขันสองคน ฮาโรลด์ โรเซนเบิร์ก (Harold Rosenberg) และ คลีเมนท์ กรีนเบิร์ก (Clement Greenberg) เคยให้ศัพท์อื่นๆ เอาไว้เรียกงานในแนวเดียวกันนี้ว่า แอ็คชัน เพนติ้ง (Action painting) และ อเมริกัน สไตล์ เพนติ้ง (American-style painting) แต่ในที่สุดคำว่า แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ ก็เป็นคำที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในอเมริกา ส่วนในยุโรปจะมีการใช้คำว่า อาร์ต อินฟอร์เมล (Art Informel)

แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ เป็นกระแสศิลปะแรกในอเมริกาที่เกิดจากเหล่าศิลปินชาวยุโรปที่อพยพมาสหรัฐอเมริกา พวกเขาเหล่านี้หนีภัยเผด็จการของพวกนาซีจากเยอรมนี แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ คือผลจากการสังเคราะห์ศิลปะหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่งานแนว เอ็กซ์เพรสชั่นนิสม์ (Expressionism) โดย วินเซนต์ แวนโก๊ะ (Vincent van Gogh) งานนามธรรมโดย คานดินสกี้ งานที่เน้นสีสันในพื้นที่ใหญ่ๆ ของ อองรี มาติสส์ (Henri Matisse) ไปจนถึงงานที่เป็นรูปทรงอิสระแบบธรรมชาติ “ออแกนิค” (organic) และงานจากจิตไร้สำนึกของพวก เซอร์เรียลลิสม์ อย่าง โจน มิโร (Joan Miro) มีเพียงงานแนวเรขาคณิตและแนวเหมือนจริงเท่านั้นที่ไม่ได้ถูกรวมเข้าไปในรูปแบบอันหลากหลายของแอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์

สำหรับ แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ แล้ว พวกเขามีส่วนร่วมกันในเรื่องของ “ทัศนคติ” มากกว่าจะเหมือนในเรื่องของ “รูปแบบ” ตัวอย่างเช่น ผลงานที่เกิดจากการหยอด การหยดสีของ แจ็คสัน พอลล็อค (Jackson Pollock) มีอะไรที่คล้ายกับพื้นสีอันกว้างใหญ่ของ มาร์ค รอธโก (Mark Rothko) น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ พวกศิลปินกลุ่มนี้จะคล้ายกันในเรื่องการแสดงออกทางอารมณ์และกายภาพ วิธีคิด วิธีทำงานและแนวงานแบบนี้ ตรงกันข้ามกันอย่างมากกับแนวงาน โซเชียล เรียลลิสม์ (Social Realism) ที่ทำกันแพร่หลายในทศวรรษ 1930

แนวงานแบบ แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ คืออีกตัวอย่างอันสุดขั้วของแนวคิดแบบ สมัยใหม่ (modernist) ที่เน้นความเป็นต้นแบบต้นฉบับ ความเป็นปัจเจกเฉพาะตัวของศิลปิน การทำงาน (เขียนภาพ) โดยแทบจะไม่อ้างอิงถึงสรรพสิ่งใดๆในโลก แต่จะมุ่งไปที่การแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึกที่สดฉับพลัน ผ่านสีสันและฝีแปรง

ศิลปิน : วิลเลม เดอ คูนนิง (Willem de Kooning, 1904-1997), ฟิลิป กัสตัน (Philip Guston, 1913-1980), โรเบิร์ต มาร์เธอร์เวลล์ (Robert Motherwell, 1915-1991), บาร์เนทท์ นิวแมน (Barnett Newman, 1905-1970), แจ็คสัน พ็อลล็อก (Jackson Pollock, 1912-1956), มาร์ค ร็อธโก้ (Mark Rothko, 1903-1970), คลิฟฟอร์ด สติลล์ (Clyfford Still, 1904-1980)

 Abstract, Abstract Expressionism, ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม, แอ็บสแตรค, แอ็บสแตรคเอ็กซ์เพรสชันนิสม์<span> </span>ระหว่าง: กลางคริสต์ทศวรรษ 1940-ทศวรรษ 1950ศัพท์คำว่า แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ มีที่มาจากการพยายามอธิบายงานจิตรกรรมนามธรรมของ วาสสิลี่ คานดินสกี้ (Wassily Kandinsky) ในระหว่างปี 1920 ต่อมาคำๆนี้ไปปรากฏในข้อเขียนสำหรับอธิบายงานจิตรกรรมร่วมสมัยที่เขียนโดย โรเบิร์ต โคเตส (Robert Coates) ในนิตยสาร “นิวยอร์คเกอร์” (New Yorker) ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 1946นักวิจารณ์ผู้ทรงอิทธิพลที่สนับสนุนศิลปะแบบ แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ อย่างแข็งขันสองคน ฮาโรลด์ โรเซนเบิร์ก (Harold Rosenberg) และ คลีเมนท์ กรีนเบิร์ก (Clement Greenberg) เคยให้ศัพท์อื่นๆ เอาไว้เรียกงานในแนวเดียวกันนี้ว่า แอ็คชัน เพนติ้ง (Action painting) และ อเมริกัน สไตล์ เพนติ้ง (American-style painting) แต่ในที่สุดคำว่า แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ ก็เป็นคำที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในอเมริกา ส่วนในยุโรปจะมีการใช้คำว่า อาร์ต อินฟอร์เมล (Art Informel)แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ เป็นกระแสศิลปะแรกในอเมริกาที่เกิดจากเหล่าศิลปินชาวยุโรปที่อพยพมาสหรัฐอเมริกา พวกเขาเหล่านี้หนีภัยเผด็จการของพวกนาซีจากเยอรมนี แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ คือผลจากการสังเคราะห์ศิลปะหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่งานแนว เอ็กซ์เพรสชั่นนิสม์ (Expressionism) โดย วินเซนต์ แวนโก๊ะ (Vincent van Gogh) งานนามธรรมโดย คานดินสกี้ งานที่เน้นสีสันในพื้นที่ใหญ่ๆ ของ อองรี มาติสส์ (Henri Matisse) ไปจนถึงงานที่เป็นรูปทรงอิสระแบบธรรมชาติ “ออแกนิค” (organic) และงานจากจิตไร้สำนึกของพวก เซอร์เรียลลิสม์ อย่าง โจน มิโร (Joan Miro) มีเพียงงานแนวเรขาคณิตและแนวเหมือนจริงเท่านั้นที่ไม่ได้ถูกรวมเข้าไปในรูปแบบอันหลากหลายของแอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์สำหรับ แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ แล้ว พวกเขามีส่วนร่วมกันในเรื่องของ “ทัศนคติ” มากกว่าจะเหมือนในเรื่องของ “รูปแบบ” ตัวอย่างเช่น ผลงานที่เกิดจากการหยอด การหยดสีของ แจ็คสัน พอลล็อค (Jackson Pollock) มีอะไรที่คล้ายกับพื้นสีอันกว้างใหญ่ของ มาร์ค รอธโก (Mark Rothko) น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ พวกศิลปินกลุ่มนี้จะคล้ายกันในเรื่องการแสดงออกทางอารมณ์และกายภาพ วิธีคิด วิธีทำงานและแนวงานแบบนี้ ตรงกันข้ามกันอย่างมากกับแนวงาน โซเชียล เรียลลิสม์ (Social Realism) ที่ทำกันแพร่หลายในทศวรรษ 1930แนวงานแบบ แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ คืออีกตัวอย่างอันสุดขั้วของแนวคิดแบบ สมัยใหม่ (modernist) ที่เน้นความเป็นต้นแบบต้นฉบับ ความเป็นปัจเจกเฉพาะตัวของศิลปิน การทำงาน (เขียนภาพ) โดยแทบจะไม่อ้างอิงถึงสรรพสิ่งใดๆในโลก แต่จะมุ่งไปที่การแสดงออกทางอารมณ์ความรู้สึกที่สดฉับพลัน ผ่านสีสันและฝีแปรงศิลปิน : วิลเลม เดอ คูนนิง (Willem de Kooning, 1904-1997), ฟิลิป กัสตัน (Philip Guston, 1913-1980), โรเบิร์ต มาร์เธอร์เวลล์ (Robert Motherwell, 1915-1991), บาร์เนทท์ นิวแมน (Barnett Newman, 1905-1970), แจ็คสัน พ็อลล็อก (Jackson Pollock, 1912-1956), มาร์ค ร็อธโก้ (Mark Rothko, 1903-1970), คลิฟฟอร์ด สติลล์ (Clyfford Still, 1904-1980)Tags: Abstract, Abstract Expressionism, ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม, แอ็บสแตรค, แอ็บสแตรคเอ็กซ์เพรสชันนิสม์

ศิลปะลัทธินามธรรม ( Abstractism ) ศิลปะไร้รูปลักษณ์

 ศิลปินแสดงออกโดยการสกัดรูปทรงจากธรรมชาติให้ง่ายปล่อยให้รูปทรงปรากฏขึ้น

ตามลีลาหรือกลวิธีในการแสดงออก

 บางครั้งก็สร้างรูปทรงให้ปรากฏขึ้นจากความคิดอันเป็นนามธรรม

ศิลปินสร้างเส้น รูปทรง สี จากการใช้ญาณวินิจฉัย โดยไม่ต้องพึ่งเส้นรูปทรง สี
จากธรรมชาติ

 การแสดงออกเป็นผลจากพลังจิตใต้สำนึก ตามเส้นทางของจิตวิทยา

 กลวิธีของการแสดงออก ได้แก่ การใช้สีราด หยด หยอด ใช้แปรงละเลง

 ระบายอย่างหยาบกร้านการสาดสี เป็นต้น

 ศิลปินคนสำคัญ ได้แก่ แจคสัน   พอลลอค,วาสสิลี   แคนดินสกี, พีท   มองเดรียง

  1. ภาพผลงานจิตรกรรมชื่อ  องค์ประกอบสีแดง เหลือง และน้ำเงิน 
 โดย พีท   มองเดรียง Piet  Mondrian  ค.ศ.1921

ภาพองค์ประกอบศิลป์ (Composition)
เทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบ (พ.ศ.2472)
ผลงานของ พีต มอนดรีอัน (Piet Mondrian)
เน้นการออกแบบโดยเส้นที่ตัดกันเป็นมุมฉากระหว่างเส้นนอนกับเส้นตั้ง
เกิดเป็นบริเวณว่างให้มีความสัมพันธ์กันภายในกรอบสี่เหลี่ยม
ด้วยการใช้สีแดง เหลือง น้ำเงินที่สดใส รวมทั้งสีขาว ดำ และเทา
ในแบบนามธรรมที่ใช้เส้นเรขาคณิตเป็นหลัก


สรุปการวิเคราะห์และการประเมินคุณค่าของงานศิลปะในด้านความงามจะตัดสินกันที่รูปแบบการจัดองค์ประกอบศิลป์ให้เกิดคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ หรือการเห็นคุณค่าทางความงามนั่น

พีท มองเดรียง Piet Mondrian


2.  ภาพผลงานจิตรกรรมชื่อ เอกนัย  Convergence 
 โดย  แจคสัน   พอลลอคJackson  Pollock ค.ศ.1952

แจคสัน พอลลอคJackson Pollock


ในระยะแรกพอลล็อกเขียนภาพแนวนามธรรม แต่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จมากนัก ด้วยความที่เป็นคนจริงจัง และค่อนข้างเก็บตัว เขาจึงเครียดอยู่เสมอ แต่ก็ได้ภรรยาคอยให้กำลังใจมาตลอด ภายหลังทั้งคู่จึงหลบความวุ่นวายในเมือง ย้ายไปหาความสงบในชนบทและใช้โรงนาเป็นสตูดิโอทำงานศิลปะ
ที่นี่เองที่วันหนึ่ง พอลล็อกค้นพบเทคนิคการเขียนภาพแบบใหม่โดยบังเอิญ ขณะกระป๋องสีล้มลงใส่ภาพที่เขากำลังเขียน ต่อมาเรียกเทคนิคแบบนี้ว่า “กัมมันตจิตรกรรม” (Action Painting) หรือ “เอ็กเพรสชันนิสม์เชิงนามธรรม” (Abstract Expressionist) ซึ่งเป็นการทำงานศิลปะโดยการหยด สาด หรือเทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์ หรือแบบแผนใด ๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะชิ้นนั้น แต่พอลล็อกยืนยันว่าผลงานศิลปะของเขาไม่ได้เกิดจาก “เหตุบังเอิญ” แต่เขาสามารถควบคุมมันได้

ในระยะแรกเขาได้รับอิทธิพลจากศิลปะแนวเหนือจริง (Surrealism) ศิลปะของชาวอเมริกันพื้นเมือง (Indian sandpainting) รวมทั้งตัวอักษรจีน จนในที่สุดก็ค้นพบเทคนิคส่วนตัวโดยผสมผสานความเรียบง่ายเข้ากับศิลปะบริสุทธิ์ ผลงานชิ้นสำคัญคือ “No. 5, 1948” ซึ่งมีราคาสูงถึง 140 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นับเป็นภาพจิตรกรรมที่มีราคาสูงที่สุดในโลก เขาเคยกล่าวไว้ว่า “กระบวนการทำงานศิลปะสำคัญกว่าผลสำเร็จขั้นสุดท้าย”

Paul Jackson Pollockและท้ายแจ็กสัน พอลล็อก (Paul Jackson Pollock) จิตรกรชาวอเมริกัน ถึงแก่กรรมในอุบัติเหตุทางรถยนต์ ขณะอายุ 44 ปี พอลล็อกเกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2455 ที่เมืองโคดี มลรัฐไวโอมิง เรียนศิลปะที่ Manual Arts High School เมืองลอสแองเจลีส แคลิฟอร์เนีย4. ภาพผลงานจิตรกรรมชื่อ  ความปิติ Small Pleasure โดยวาสสิลี  แคนดินสกี Wassili  Kandinsky ค.ศ. 1913
Kandinsky


ลัทธิแอสแตรค Astract)  มาจาก แอบสแตรค  ที่หมายถึง นามธรรม   ศิลปินมีการสร้างสรรค์ผลงานโฑดยการคำนึงถึงเส้นและสีเท่านั้น  มีลวดลายค้ายลายผ้า  ลายพรม หรือ ลายกระเบื้องปูพื้น  ศิลปินที่มีชื่อเสียง  เช่น  คองดินสกี (Kandinsky)   มองดีออง Mondrian)   และ  วิลอง


beside the sea1966 by robert motherwell


Luise Deicher

Clyfford Still


Cath Sheard - "After Motherwell"


Kandinsky: The Last Decade 
วิลเลม เดอ คูนนิง (Willem de Kooning 1904-1997) จิตรกรรมชุด ผู้หญิง (Women)

วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

เเนะนำตัว


                                                                                      ผมชื่อ อดิลักษณ์ วรรณกาล

ชื่อเล่น อะตอม

ชอบ เล่นดนตรี

ชอบกิน เฮดดิสสาตท์

ชอบ เรียน ทุกวิชา

ชอบคน ที่ทำให้ผมมีความสุขได้





                                                                                     




   


                 เวลาว่าง เล่นเกม เเละ อื่นอื่น ..

        ปิดเทอมก็ต้องเข้าค่าย





งานอดิเรก เลาะน้ำนา

        


                           เล่นเกม  HON





                     ตอนกลางคืน ชอบ ขับรถ



                   น้องสาว รอง

  น้องสาวรอง





                                 ครอบครัว
TEST 1



ด.ช.ขจรยศ   เถาว์ทวี  เลขที่ 6 ชั้น ม.3/8
ด.ช.อดิลักษณ์   วรรณกาล  เลขที่ 10 ชั้น ม.3/8



วันเเม่

      
ความเป็นมา
งานวันแม่จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2486 ณ.สวนอัมพร โดยกระทรวงสาธารณสุข แต่ช่วงนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 งานวันแม่ในปีต่อมาจึงต้องงดไป เมื่อวิกฤติสงครามสงบลง หลายหน่วยงานได้พยายามให้มีวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง ต่อมาวันแม่ที่รัฐบาลรับรอง คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 แต่ก็ต้องหยุดลงอีกในหลายปีต่อมา เนื่องจากกระทรวงวัฒนธรรมถูกยุบไป ส่งผลให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ซึ่งรับหน้าที่จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน ต่อมาสมาคมครูคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2515
แต่จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้กำหนดวันแม่ขึ้นใหม่ให้เป็นวันที่แน่นอน โดยถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ และกำหนดให้ดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ คือ ดอกมะลิ
 
ดอกมะลิ สัญลักษณ์ของวันแม่
นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 พระนามเดิม หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ของหม่อมเจ้านักขัตรมงคล (ภายหลังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น พลเอกพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ)กับ หม่อมหลวงบัว กิติยากร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ณ บ้านของพลเอกเจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์ (ม.ร.ว.สท้าน สนิทวงศ์) และท้าววนิดาพิจาริณี บิดาและมารดาของหม่อมหลวงบัว กิติยากร ตั้งอยู่ที่ 1808 ถนนพระรามที่ 6 อำเภอปทุมวัน จ.พระนคร  ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "สิริกิติ์" มีความหมายว่า "ผู้เป็นศรีแห่งกิติยากร"

ตราประจำพระองค์
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระภาดา (พี่ชาย) 2 องค์ และและพระขนิษฐภคินี (น้องสาว) 1 องค์ ดังนี้ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (ชาตะ พ.ศ. 2472) หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (ชาตะ พ.ศ. 2473) และ หม่อมราชวงศ์หญิง บุษบา กิติยากร (ชาตะ พ.ศ. 2477)
ในระหว่างยังทรงพระเยาว์ สถานการณ์บ้านเมืองไม่สู้สงบนัก เนื่องจากเพิ่งพ้นจากช่วงของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ไม่นาน หม่อมเจ้านักขัตรมงคลต้องทรงออกจากราชการ รัฐบาลแต่งตั้งให้ไปรับตำแหน่งเลขานุการเอกประจำสถานทูตสยาม ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ส่วนหม่อมหลวงบัวซึ่งมีครรภ์แก่ ได้เดินทางไปสมทบหลังจากให้กำเนิดหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์แล้ว โดยมอบหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ให้อยู่ในความดูแลของบิดาและมารดาของหม่อมหลวงบัว ดังนั้นจึงต้องอยู่ไกลจากบิดามารดาตั้งแต่อายุน้อย บางคราวต้องเดินทางไปต่างจังหวัด เช่น พ.ศ. 2476 หม่อมเจ้าอัปสรสมาน กิติยากร พระมารดาของหม่อมเจ้านักขัตรมงคล ได้ทรงรับนัดดาตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ไปอยู่ที่จังหวัดสงขลา ปลายปี พ.ศ. 2477 หม่อมเจ้านักขัตรมงคลทรงลาออกจากราชการแล้วกลับมาประเทศไทย จึงทำให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ซึ่งขณะนั้นอายุได้ 2 ปี 6 เดือน ได้กลับมาอยู่รวมพร้อมหน้ากันทั้งครอบครัว ณ ตำหนักบริเวณถนนกรุงเกษม ปากคลองผดุงกรุงเกษม ริมแม่น้ำเจ้าพระยา
การศึกษา
พ.ศ. 2479 เมื่อหม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์มีอายุได้ 4 ขวบ ก็ได้เข้ารับการศึกษาครั้งแรกในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนราชินี ทว่าในขณะนั้น แม้เหตุการณ์ด้านการเมืองภายในประเทศไทยจะสงบลง แต่สถานการณ์ระหว่างประเทศก็ไม่สงบ กล่าวคือ สงครามมหาเอเชียบูรพาเริ่มแผ่ขยายมาถึงประเทศไทย กรุงเทพมหานครถูกโจมตีทางอากาศหลายครั้งจนการคมนาคมไม่สะดวก พระบิดาจึงให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ย้ายไปเรียนที่โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ เพราะอยู่ใกล้วังพระบิดา ได้เรียนที่นั่นตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จนจบชั้นมัธยมศึกษา หม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์ได้เรียนเปียโน ซึ่งเรียนได้ดีและเร็วเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสด้วย

พ.ศ. 2489 ครั้นเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสงบลง หม่อมเจ้านักขัตรมงคลต้องเสด็จไปดำรงตำแหน่งรัฐทูตวิสามัญและอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็มประจำสำนักเซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษ ทั้งนี้โดยได้ทรงพาครอบครัวทั้งหมดไปอยู่ด้วย ในเวลานั้นหม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์ มีอายุได้ 13 ปีเศษ และเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้ว

ขณะที่อยู่ในประเทศอังกฤษ หม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์ได้ศึกษาต่อทั้งวิชาภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส และวิชาเปียโนกับครูพิเศษ หลังจากนั้นไม่นาน พระบิดาย้ายไปเดนมาร์กและฝรั่งเศส ตามลำดับ ขณะที่หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ก็ยังคงเรียนเปียโน และตั้งใจจะศึกษาต่อในวิทยาลัยการดนตรีที่มีชื่อเสียงของกรุงปารีส

ระหว่างที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส หม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์ได้มีโอกาสรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช (ขณะนั้นทรงศึกษาต่อที่สวิตเซอร์แลนด์หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์) ซึ่งพระองค์เสด็จประพาสกรุงปารีส โดยทางรถยนต์จากสวิตเซอร์แลนด์ เพราะประสงค์จะเลือกซื้อรถยนต์พระที่นั่งแทนคันเดิม และยังได้รับชมการแสดงดนตรีของคณะที่มีชื่อเสียงด้วย ในระหว่างที่เสด็จพระราชดำเนินมายังกรุงปารีส ก็ได้ประทับที่สถานทูตไทยประจำประเทศฝรั่งเศสเช่นเดียวกันกับนักเรียนไทยคนอื่นในสมัยนั้น ทั้งนี้เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงโปรดการดนตรีเป็นพิเศษ ขณะที่หม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์ก็สนใจศิลปะเช่นกัน ทำให้เกิดความความสัมพันธ์ขึ้น
ทรงหมั้น
วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2491 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งโดยมีหม่อมหลวงบัวและหม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์ เข้าเฝ้าฯ เยี่ยมพระอาการเป็นประจำ และในช่วงระยะเวลาที่หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์อยู่เฝ้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่สวิตเซอร์แลนด์นั้น สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ (พระนามในเวลานั้น) ได้ทรงรับเป็นธุระจัดการให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์เข้าศึกษาในโรงเรียน Pensionnat Riante Rive [ต้องการแหล่งอ้างอิง] ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำแห่งหนึ่งของโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงหายจากอาการประชวรแล้ว ก็ได้ทรงหมั้นหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์เป็นการภายในเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492

หลังจากทรงหมั้นแล้ว หม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์ยังคงศึกษาต่อ กระทั่ง พ.ศ. 2493 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินนิวัตพระนครเพื่อร่วมพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระองค์ท่านโปรดฯ ให้หม่อมราชวงศ์หญิงสิริกิติ์ตามเสด็จพระราชดำเนินกลับมาด้วย


อภิเษกสมรส

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงสายสะพายนพรัตน์ราชวราภรณ์เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสขึ้น ณ วังสระปทุม และโปรดเกล้าฯ สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ขึ้นเป็น สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์

หลังจากครองราชย์สมบัติอย่างกะทันหัน พระบาทสมเด็จพระหัวอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้โปรดเกล้าฯ ให้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 และโปรดฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ เป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี หลังจากนั้นทั้งสองพระองค์ได้เสด็จฯ กลับไปยังสวิตเซอร์แลนด์เพื่อทรงรักษาพระองค์และทรงศึกษาต่อ แล้วเสด็จฯ กลับมาอีกครั้งในปี พ.ศ. 2495


พระราชโอรสธิดา

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชโอรส และพระราชธิดา 4 พระองค์ ดังนี้
1. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ประสูติ ณ สถานพยาบาลมองซัวซี นครโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2494 ต่อมาได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์ (ปัจจุบัน ทรงพระนามว่า ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริโสภาพรรณวดี) เพื่อสมรสกับนายปีเตอร์ เลด เจนเซ่น ชาวอเมริกัน ทรงมีพระโอรส 1 องค์ และพระธิดา 2 องค์
2. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจักราดิศรสันตติวงศ์ เทเวศรธำรงสุรบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดชภูมิพลนเรศวรางกูร กิติสิริสมบูรณ์ สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร ประสูติ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2495 ต่อมา ทรงได้รับการสถาปนา ขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฏราชกุมาร เมื่อ พ.ศ. 2515
3. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2498 ต่อมาทรงได้รับพระราชทานโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระอิสริยยศ เป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เมื่อ พ.ศ. 2520
4. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อวันที่ 4 กรกฏาคม พ.ศ. 2500 ทรงอภิเษกสมรสกับ เรืออากาศโท (ยศในขณะนั้น) วีระยุทธ ดิษยะศริน ทรงมีพระธิดา 2 พระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

เมื่อ พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ออกผนวชเป็นเวลา 15 วัน ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน และระหว่างที่ผนวช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในภายหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธยเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ปีเดียวกัน


กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันแม่แห่งชาติ 

ดอกมะลิ ดอกไม้สัญลักษณ์วันเเม่
1. ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ
2. ร่วมจุดเทียนชัยถวายพระพรแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
3. การประดับไฟเฉลิมพระเกียรติ และประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน
4. จัดกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับวันแม่ เช่น การจัดนิทรรศการ การแสดง การประกวดต่างๆ เพื่อรำลึกถึงพระคุณของแม่
5. การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทำบุญใส่บาตรอุทิศส่วนกุศล
6. นำพวงมาลัยดอกมะลิไปกราบขอพรจากแม่

วันสำคัญทางศาสนา

มาฆบูชา
        มาฆบูชา เป็นวันสำคัญของพระพุทธศาสนาวันหนึ่ง ซึ่งเป็นที่รู้กันว่า เป็นวันเกิดพระธรรม ถือว่าเป็นวันที่ พระพุทธเจ้า ได้ประกาศ หลักธรรม คำสั่งสอนของพระองค์ เพื่อให้พระอรหันต์ทั้งหลาย ที่มาประชุมกันในวันนั้น นำไปเผยแผ่

           วั น"มาฆบูชา" เป็นวันบูชาพิเศษที่ต้องทำในวันเพ็ญเดือนมาฆะ หรือในวันที่พระจันทร์เสวยมาฆฤกษ์

( ซึ่งโดยปกติทำกันในกลางเดือน ๓ แต่ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ เดือนแปดสองแปด ก็เลื่อนไปกลางเดือน ๔ )
ถือกันว่าเป็นวันสำคัญ เพราะวันนี้ เป็นวันคล้ายกับ วันประชุมกันเป็นพิเศษ แห่งพระอรหันตสาวก โดยมิได้มีการนัดหมาย ซึ่งเรียกว่า วันจาตุรงคสันนิบาต ซึ่งได้มีขึ้น ณ บริเวณเวฬุวันมหาวิหาร หลังจากที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้เป็นเวลานับได้ ๙ เดือน           วันนี้เอง ที่พระพุทธองค์แสดง "โอวาทปาฎิโมกข์" ซึ่งถือกันว่า เป็นหลักคำสอนที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา

จาตุรงคสันนิบาต คือ การประชุมพร้อมด้วยองค์ ๔ คือ๑. วันนั้น เป็นวันมาฆปูรณมี คือวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำกลางเดือนมาฆะ จึงเรียกว่า มาฆบูชา

๒. พระภิกษุ ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย (สาเหตุของการชุมนุม)
๓. พระภิกษุทั้งหมดล้วนเป็นพระอรหันต์ ประเภทฉฬภิญญา คือ ได้อภิญญา ๖
๔. พระภิกษุ เหล่านั้น ทั้งหมด ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง (เอหิภิกฺขุอุปสมฺปทา)
โอวาทปาฏิโมกข์ เป็นหลักคำสอนที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ได้กล่าวถึง จุดหมาย หลักการ และวิธีการ ของพระพุทธศาสนาไว้อย่างครบถ้วน
๑. จุดหมายของพระพุทธศาสนา คือ พระนิพพาน (นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา)

๒. หลักการของพระพุทธศาสนา คือ ต้องมีความอดทน ในการฝึกตนเอง เพื่อบรรลุจุดหมาย (ขนฺติ ปรมํ ตโป ตีติกฺขา) ต้องประกอบด้วย

     ก. ไม่ทำความชั่วโดยประการทั้งปวง ทั้งทางกาย วาจา และทางใจ (สพฺพปาปสฺส อรกณํ)
     ข. ทำความดีทั้งทางกาย วาจา และใจ (กุสลสฺสูปสมฺปทา) การไม่ทำความชั่วนั้น จะเรียกว่า เป็นคนดียังไม่ได้ การเป็นคนดี จะต้องทำความดี ทั้งทางกาย วาจา ใจ มิฉะนั้นแล้ว คนปัญญาอ่อน คนเป็นอัมพาต เป็นต้น ก็จะเป็นคนดีไปหมด
     ค. การชำระจิตใจให้สะอาด ผ่องใส สงบ (สจิตฺตปริโยทปนํ)

๓. วิธีการที่จะบรรลุจุดหมาย คือ ต้องฝึกอบรมตนแบบต่อเนื่อง ให้เกิดมรรคสามัคคี คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ ** รวมพลังกัน เหมือนเชือก ๘ เกลียว หรือให้มี ศีล สมาธิ และปัญญา รวมพลังกัน เหมือนเชือก ๓ เกลียว พัฒนากาย วาจา ใจ ให้พูดดี ทำดี คิดดี ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งกิเลส คือ โลภะ โทสะ โมหะ หรือ ราคะ โมสะ โมหะ ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งกิเลส ตัณหา หรือความใคร่ ความอยากมี อยากเป็น แบบมืดบอด ความไม่อยากมี ไม่อยากเป็น ที่มันเป็นไปไม่ได้ เช่น ไม่อยากเป็นคนเสื่อมลาภ, ยศ, สรรเสริญ, สุข เป็นต้น โดยอาศัยวิธีการดังต่อไปนี้.


     ก. ฝึกวาจา ระวังเสมอ มิให้กล่าวคำเท็จ คำหยาบ คำส่อเสียด คำเพ้อเจ้อ (อนูปวาโท)

     ข. ฝึกกาย ระวังเสมอมิให้มีการฆ่า ทำลายชีวิต ตลอดจนถึงการเบียดเบียนทางกาย (อนูปฆาโต)
     ค. ละเว้นข้อที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสห้ามไว้ และทำตามข้อที่พระพุทธองค์อนุญาต (ปาฎิโมกฺเข จ สํวโร)
     ง. รู้จักประมาณในการบริโภค อาหาร ตลอดจน รู้จักประมาณในการใช้สอยปัจจัย ๔ (มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺสมึ)
     จ. ฝึกตนอย่างจริงจัง ในที่ที่สงัดจากสิ่งรบกวน (ปนฺตนฺ จ สยนาสนํ)
     ฉ. ภาวนาอยู่เสมอ คือ พัฒนาตนเองให้พ้นจากอำนาจของกิเลสตัณหา การภาวนา หมายถึง การใช้ทั้งสมาธิ และวิปัสสนา แก้ปัญหา หรือจัดการกับกิเลส (อธิจิตฺเต จ อาโยโค) เป็นการตรวจสอบตัวเองอยู่เสมอ มิให้จิตใจเศร้าหมอง ให้จิตใจผ่องใสอยู่เสมอ (สจิตฺตปริโยทปนํ)

          จุดหมาย หลักการ และวิธีการ ที่พระพุทธเจ้าได้ประกาศไว้จะเป็นไปด้วยดี และบรรลุวัตถุประสงค์ที่พระพุทธเจ้าทรงมุ่งหมายไว้นั้น พระองค์ได้ย้ำเตือนไว้ว่า จะต้องปฏิบัติตนให้เป็นอย่างบรรพชิต และเป็นอย่างสมณะ คือ เว้นจากความชั่วทุกประการ และเป็นผู้ปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่าง เพื่อระงับบาปอกุศล ได้แก่ ผู้ปฏิบัติธรรม เพื่อเป็นอริยบุคคล ทั้งไม่เบียดเบียนและไม่ก่อให้เกิดความเดือนร้อนแก่คนที่ประพฤติดี ปฏิบัติชอบทั้งหลาย (น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต)
หมายเหตุ
สัมมาทิฏฐิความเห็นชอบ
สัมมาสังกัปปะความดำริชอบ
สัมมาวาจาการพูดจาชอบ
สัมมากัมมันตะการทำงานชอบ
สัมมาอาชีวะการเลี้ยงชีวิตชอบ
สัมมาวายามะความพากเพียรชอบ
สัมมาสติความระลึกชอบ
สัมมาสมาธิความตั้งใจมั่นชอบ
อภิญญา ๖
อภิญญา คือความรู้อันยอดยิ่งมี ๖ ประการได้แก่
๑.แสดงฤทธิ์ได้ (อิทธิวิธิ)
๒.หูทิพย์ (ทิพยโสต)
๓.รู้จักกำหนดใจผู้อื่น (เจโตปริยญาณ)
๔.ระลึกชาติได้ (ปุพเพนิวาสานุสติญาณ)
๕.ตาทิพย์ (ทิพยจักษุ)
๖.ทำอาสวะกิเลสให้สิ้นไป-คือญาณหยั่งรู้ในธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย (อาสวักขยญาณ)
สาเหตุของการชุมนุมคงเนื่องมาจากภิกษุเหล่านั้นล้วนเคยนับถือศาสนาพราหมณ์มาก่อนและในวันเพ็ญเดือนมาฆะ
เป็นวันที่ทางศาสนาพราณ์ได้ประกอบพิธีศิวาราตรี คือ การลอยบาปในแม่น้ำคงคา และประกอบพิธีสักการบูชาพระเป็นเจ้าในเทวสถาน เมื่อถึงวันนั้น พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าซึ่งเคยประกอบพิธีดังกล่าวจึงต่างพากันไปเฝ้าพระพุทธองค์
งาน  Microsoft Publisher 
ด.ช.อดิลักษณ์ วรรณกาล 
เลขที่ 10 ม.3/8




วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555

วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

กิจกรรมที่4
4.2
<html>
<head>
<script language="javascript">
<!--
var a;
a=prompt("กรุณากรอกชื่อของคุณด้วยครับ");
alert("สวัดดีครับ"+a);
</script>
</head>
</html>

กิจกรรมที่ 4

2.)
<html>
<head>


<script language="javascript">
<!--
 var a;
 var b;
 a = prompt("กว้าง");
 b = prompt("ยาว");
 alert("พื้นที่สี่เหลี่ยม"+a*b);
 </script>
 </head>
</html>